สำหรับวันนี้เราจะพามาทำความรู้วิ ธีการรับโอน ม ร ด กที่ดิน จากเจ้าของดิมแต่เป็นการรับแบบที่เจ้าของที่่ดินได้จากไปแล้ว ซึ่งหล า ยคนอาจจะยังไม่ทราบว่าต้องทำอ ย่ างไรบ้าง ซึ่งเรื่องแบบนี้ไม่ว่าใครก็ต้องเจอหากพ่อแม่เรามีที่ดิน ถ้าพร้อมแล้วเราไปดูกันดีกว่าว่าต้องทำอะไรบ้าง
รื่องของม ร ด กนั้น มันจะไม่ค่อยเป็นปัญหามากนักหากเจ้าของยังอยู่และรีบจัดการได้ทัน แต่บางครั้งมันก็ทำไม่ได้ อ ย่ า ง ม ร ด ก ที่ดินหล า ยคนก็เป็นท า ย า ท ที่รอรับและเจ้าของได้จากไปแล้ว มีขั้ น ต อ นการโอนได้เหมือนกัน แน่นอนว่าจะเป็นของใครก็ว่ากันไปต ามกฎห ม า ยเลย ลองมาติดต ามอ่ า นกันว่าจะโอน ม ร ด กที่ดินอย่ างไร เมื่อเจ้าของเดิมไม่อยู่โอนแล้ว
ซึ่งจะมีการโอน ม ร ด กที่ดินไปยังทาย าทอยู่ 2 วิ ธีเลยคือ ให้ทาย าทไปโอนที่สำนักงานที่ดิน ส่วนอีกทางคือตั้งผู้จัดการม ร ด กขึ้น มา ในกรณีนี้ก็จะต้องไปที่ศาล สำหรับการไปโอนที่สำนักงานที่ดินนั้นจะมีเอกสา รที่จำเป็นต้องใช้คือ หลักฐานสิทธิในที่ดิน เช่น โฉนดที่ดิน หลักฐาน มรณะบัตรของเจ้าของเดิม และหลักฐานการเป็นผู้รับสิทธิม ร ด ก ไม่ว่าจะเป็น สิทธิการเป็นลูก เป็นภรรย า หรือเป็นพินัยก ร ร ม ส่งให้แก่เจ้าพนักงานสอบสวนแล้วเชื่อว่าผู้ขอเป็นทาย าทที่มีสิทธิรับม ร ด กที่ดินนั้นต ามคำขอก็จะทำการประกาศม ร ด ก มีกำหนด 30 วัน แล้วจดทะเบียนหากไม่มีการคัดค้าน
ส่วนอีกวิ ธีคือ การที่เราจะต้องตั้งผู้จัดการม ร ด กขึ้น มา ก็ให้ทาย าทร้องขอต่อศาลให้ตั้งผู้จัดการให้ แน่นอนว่าก็ต้องเดินทางไปที่ศาล ซึ่งจะมีการจดทะเบียนผู้จัดการม ร ด ก แล้วจากนั้นก็ไปจดให้เรียบร้อยแล้วเจ้าหน้าที่จะรับจดทะเบียนให้ ซึ่งเป็นขั้ น ต อ นที่ใช้เวลานานเหมือนกัน
หากจะให้ดีม ร ด กที่ดินหรือท รั พ ย์สินขนาดใหญ่ทำพินัยก ร ร มเอาไว้ก่อนก็จะง่ายต่อ การจัดการโอนส่งต่อแก่ทาย าท ไม่ใช่การทำให้ตัวเองอายุสั้นแต่มันเป็นการเตรียมตัวไว้ หากเกิดอะไรขึ้น มากับเราอย่ างน้อยคนที่อยู่ต่อก็จะได้ไม่ต้องวุ่นวายกัน มากนักในการร้องขอรับโอนต่อท รั พ ย์สินนั้น
ที่มา kasetchaoban