รู้ไว้ก่อน หากคิดจะกู้ร่วมซื้ อบ้านกับใคร

สวัสดีเพื่อนๆทุกท่าน วันนี้เรามีความรู้มาฝากกันค่ะ ว่ากันว่า การรกู้ร่วมอะไรก็แล้วแต่ นั่นเท่ากับว่าเรามีห นี้ร่วมกันเป็นที่เรียบร้อย ก่อนอื่นนั้นเราควรศึกษาหาข้อมูลก่อนที่จะกู้ร่วมว่า สิ่งที่เราเกี่ยวข้องนั้น มีอะไรบ้าง ก่อนตัดสินใจ ไปติดต ามกันเลยค่ะ

ผู้กู้ร่วมซื้ อบ้าน เป็นใครได้บ้าง

โดยทั่วไปกำหนดว่าผู้กู้ร่วม ต้องมีสายโลหิตเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติ

ผู้ที่มีนามสกุลเดียวกัน

อาจเป็นสามีภรรย า พี่น้อง พ่อ แม่กับลูก รวมทั้งเป็นญาติกันโดยมีนามสกุลเดียวกัน

พี่น้องท้องเดียวกันแต่คนละนามสกุล

ก็สามารถกู้ร่วมกันได้ เพียงแต่แสดงทะเบียนบ้านหรือสูติบัตรที่ระบุว่าพ่อแม่เดียวกัน

กรณีสมรสไม่จดทะเบียน

ก็แสดงหลักฐาน เช่น ภาพถ่ายงานแต่ง การ์ดงานแต่ง หรือ การมีบุตรร่วมกันก ร ร มสิทธิ์ ในอสังหาฯ เป็นของคนเดียว หรือ หล า ยคน

การกู้ร่วมซื้ อบ้านทำได้ 2 แบบ

1 การใส่ชื่อคนเดียวเป็นเจ้าของก ร ร มสิทธิ์แต่เวลากู้ยืมใช้หล า ยคน มากู้ร่วม

2 การกู้ร่วมโดยใส่ซื่อผู้กู้ร่วมทุกคนเป็นเจ้าของก ร ร มสิทธิร่วมกัน

ส่วนใหญ่แล้วผู้กู้จะเลือ กแบบที่สอง เ พ ร า ะผู้กู้ทุกคน มีก ร ร มสิทธิ์ในบ้านหรืออสังหา นั้ น ร่วมกัน แต่การถือ ก ร ร มสิทธิ์ร่วมมีเรื่องที่ต้องคำนึงคือ หากต้องการข า ยบ้านหรือ อสังหาฯ นั้น จะทำไ ด้ก็ต่อเมื่อได้รับการยินยอมจากผู้ถือ ก ร ร มสิทธิ์ร่วมทุกคน

สิทธิประโยชน์ด้านภ าษี

จากดอ กเบี้ยจ่าย ล ดหย่อนอย่ างไร

ดอ กเบี้ยจ่ายของเงินกู้บ้านสามารถนำมาล ดหย่อนภาษีได้ต ามที่จ่ายจริงแต่สูงสุด ไม่เกิน 100,000 บ า ทต่อปีภาษี

กรณีของการกู้เดี่ยว

สิทธิล ดหย่อนภาษีจากดอ กเบี้ยบ้านจะเป็นของผู้กู้เพียงผู้เดียว

กรณีของการกู้ร่วม

กรณีกู้ร่วมสองคนก็คือหารครึ่งนั่นเอง ให้หารเฉลี่ยต ามจำนวนผู้กู้

ที่มา thewayoflife.com parinyajai