ยุคนี้ ค่าครองชีพสูงเหลือเกิน อะไรประหยัดได้ก็ต้องทำ หากใครยังมีพื้นที่ว่างในบ้าน อย ากชวนปลูก ผักคะน้าเด็ดยอ ด ชื่อภาษาอังกฤษว่า petit kale หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ผักปูเล่ ซึ่งเป็นผักกินใบชนิดหนึ่ง ที่มี คุ ณ ลักษณะเด่นคือ เป็นพืชผักตระกูลกะหลํ่า
มีอายุการให้ผลผลิตยอ ดอ่อนต่อเนื่องย าวนานหล า ยปี โดยแ ต กยอ ดขนาดเล็กจํานวน มากคล้ายยอ ดอ่อนของผัก ค ะ น้า นําไปประกอบอาหารทั้งรับประทานสดและปรุงสุกแบบผักคะน้าได้ทุกเมนู
การปลูกคะน้าเกษตรกรส่วนใหญ่ มักจะใช้เมล็ดพันธุ์ปลูกแล้วเก็บข า ยไปทั้งต้น เมื่อหมดรุ่นแล้วลงแปลงปลูกใหม่ไปเรื่อยๆแต่วันนี้ มีคะน้าแบบใหม่ คะน้าเด็ดยอ ด ที่สามารถเก็บยอ ดมาข า ย หรือนำมาประกอบอาหารได้หล า ยครั้ง
นานหล า ยปี รศ.ดร.วรรณา สนั่นพานิชกุล ผู้จัดการศูนย์ขย ายพันธุ์พืชสย าม อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ เ ผ ย ถึงที่มาของคะน้าเด็ดยอ ดแบบใหม่ด้วยการนำปูเล่ มาทำการเ พ า ะเลี้ยงเ นื้ อเยื่อ
นอ กจากจะได้ต้นที่มีลักษณะแ ต กต่างจากต้นเดิมสามารถเด็ดยอ ดได้หล า ยครั้ง เด็ดได้ทุกเดือน ต้น มีอายุยืน 1-4 ปี ขึ้นอยู่กับการดูแลรั ก ษ าให้น้ำให้ปุ๋ ย ต่างจากต้นคะน้า เ ด็ ด ยอ ดดั้งเดิม ที่เด็ดได้ครั้งแรก หนเดียว แล้ว
ต้องปลูกใหม่ ต้นที่ได้จากการเ พ า ะเลี้ยงเ นื้ อเยื่อ หลังจากปลูก 30-40 วัน สามารถเด็ดยอ ดได้ครั้งแรก จากนั้นจะมียอ ดใหม่แ ต กออ กมา 2-3 ยอ ด ต่อ การเด็ด 1 ยอ ด และเมื่อยอ ดชุดใหม่อายุ 25-30 วัน สามารถ เ ด็ ด ยอ ดได้อีก 2-3 ยอ ด แต่ละยอ ดจะแ ต กออ กมาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
ส่วนวิ ธีการปลูก รศ.ดร.วรรณา บอ กว่า หากต้องการปลูกในเชิงพาณิชย์เพื่อค้ าข า ย การจะทำให้ต้นที่ปลูกมีความสม่ำเสมอ แข็งแ ร ง และปลอ ดโ ร ค
ควรปลูกในที่มีแสงแดดส่องถึง นํ้าไม่ท่วมขัง สภาพดินร่วน เหมาะกับการปลูกในโรงเรือน มีหลังคาคลุม ด้านหัวและท้ายโรงเรือนเปิดโล่ง ช่วยระบายอากาศ
หากจะปลูกต าม บ้านเรือนทั่วไป ควรเลือ กต ามแนวชายคาบ้าน หรือใส่กระถางตั้งวางปลูกก็ทำได้ แต่การปลูกลงแปลงดินจะเจริญเติบโตได้ดีกว่า แต่ต้องระวังอ ย่ าให้มีความชื้น มากเกินไป จะทำให้ต้นเ น่ าต า ยได้ สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการลดปริมาณการให้นํ้าในแต่ละวันลงไปจนกว่าพื้นที่ปลูกจะแห้ง
ศั ต รูพืชของคะน้าเด็ดยอ ด
แ ม ล งศั ต รูพืชที่สําคัญ ได้แก่ ห น อ นผีเสื้อ หากเจอน้อยให้เก็บตัวห น อ นทำล า ยทิ้ง หากพบการระบาดมากให้ใช้ส า รจุลินทรีย์ บาซิลลัสทูริงเยนซีส ฉีดพ่น สามารถกําจัดห น อ นได้ดีมาก แ ม ล งอีกชนิดที่พบบ่อยคือ เ พ ลี้ ยอ่อน
สามารถกําจัดโดยฉีดพ่นน้ำแ ร งๆ หรือใช้ใบย าสูบต ากแห้ง ที่มวนบุ ห รี่ แช่นํ้าแล้วฉีดพ่นเป็นละอองฝอยๆ โ ร คพืชที่พบบ่อยคือ อาการโ ร คเ น่ า เมื่อเจอความชื้น มากเกินไป วิ ธีแก้ไขคือ ตกแต่งใบแก่ ใบแห้ง ให้แปลงปลูกโปร่ง ไม่แน่นทึบ อากาศถ่ายเทได้สะดวก ลดปริมาณนํ้าในแต่ละวันลง เพื่อให้ความชื้นในแปลงปลูกลดลง
การดูแลรั ก ษ าหลังเด็ดยอ ดให้ใส่ปุ๋ ยมูลสั ต ว์เดือนละครั้ง หรืออาจจะเสริมด้วยปุ๋ ยเคมีเสริมธาตุอาหารสู ต ร 15-15-15 ระยะ 20 วันต่อครั้ง ในอัตรา 1 ช้อนชา ผสมนํ้า 10 ลิตร รดให้ทั่วทั้งต้นและใบ นํ้า และความชื้น ในฤดูฝน ค ว า ม ชื้ น สูง อาจไม่ต้องรดนํ้าทุกวัน ส่วนในฤดูหนาวหรือร้อนอาจพิจารณาให้นํ้าเพิ่มขึ้นได้ ผู้ปลูกต้องหมั่นสังเกตว่าหากความชื้นสูงในฤดูฝน ผักอาจเหี่ยวและเ น่ าเ สี ยห า ย แต่หากในฤดูร้อนให้นํ้าน้อยไป ยอ ดคะน้าจะเหนียว เป็นต้น ดังนั้น จึงต้องสังเกตความเหมาะสมต ามสภาพแต่ละท้องถิ่น
อ ย่ างไรก็ต าม ขอฝากข้ อควรคํานึงเมื่อคิดจะปลูกผักชนิดนี้เป็นธุรกิจ สัก 2 ประการ ผักชนิดนี้ไม่ชอบชื้นแฉะแบบปลูกกลางแจ้งในฤดูฝน จําเป็น ต้องมีหลังคาป้องกันฝน หรือปลูกในโรงเรือนปลูกพืช ผักชนิดนี้ไม่จําเป็น ต้องใช้ส า รเคมีป้องกันและกําจัด ศั ต รู พื ช ในการดูแลรั ก ษ า ซึ่งนอ กจากจะดีต่อสุ ข ภ า พของผู้ปลูกแล้ว ยังดีต่อสุ ข ภ า พของผู้บริโภคอีกด้วย สนใจติดต่อที่ 08-6084-6362 ไชยรัตน์ ส้มฉุน ผู้สนใจข้ อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อที่ ดร. วรรณา สนั่นพ านิชกุล อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โทร. (086) 084–6362
ที่มา thairath.co.th poobpub